EXPERIENCES IN FEB ’12


เสน่ห์บางกอก (วิจิตร คุณาวุฒิ /2509/ไทย)
A+

ในหนังเรื่องนี้ ยางกอกเป็นสิ่งชั่วร้าน ชื่อ เสน่ห์บางกอกจึงเป็นชื่อที่เสียดสีความเป็นบางกอกอยุ่ในที แพรเป็นคนหลงบางกอกที่ทำให้ทุกอย่างปั่นป่วนไปหมด คณะละครจากบางกอกก้เข้ามาฝมาในหมู่บ้านด้วยการคาดหวังเงินทองทรัพย์สิน การตามหาแพรในบางกอกก้ทำให้เจอแต่เรื่องเลวร้าย ไม่มีที่ไดจะสุขใจเท่าบ้านนอกของเราอีกแล้ว

หนังตามระเบียบบ้านไร่เรือนเรามากๆ ตัวละครรักกันกลับบ้านในตอนจบ ทุกอย่างเป็นไปตามระเบียบของชนบทแสนสุขกรุงเทพชั่วร้าย สิ่งที่น่าสนใจคือนี่ไม่ใช่หนังจำพวก บ้านนอกกำลังสูญหาย (เพราะหนังมันอยุ่ในปี 1966ที่เป็นปีที่ทุกอย่างยังเป็นบ้านนอกหมด) แต่เป็นเซนสืบ้านนาที่ข้ารัก เป็นหังที่บ้านนอกจะแข่งขันกับหรุงเทพดูสักตั้งละวะ เรามีความอุดมสมบูรณืจะตาย

อย่างไรก็ดี บางช่วงของหนังทำให้นึกถึงหนังของ อิมกวอนเต็ก ทีเดียว ในแง่ที่จู่ๆหนังก็กลายเป็นสารคดีฉายภาพชีวิตชนบท หนังแฟนเซอร์วิสชาวบ้านด้วยการให้ดู การทำขวัญนาค ขบวนแห่ขันหมาก การชกมวย ละครร้อง อะไรที่ผู้ชมชอบ ก็จะใส่เข้ามาในหนังด้วยสายตากึ่งสารคดีเสียด้วยซ้ำ ในทางหนึ่งนอกจากมันจะเป็นหนังต่อต้านกรุงเทพ มันยังเป็นสารคดีชีวิตภาพชนบท (ฬนเชิงวัฒนธรรม) เป็นethnographic ว่าชาวบ้านอยู่กันอย่างไร

อย่างไรก็ดี ฉากทำขวัญนาคที่มองตากันไปมาทำให้นึกถึงฉากละครคาบูกิในEarly Spring ของโอสุเลย

JULIA’S EYES (GUILLEM MORALES/2010/SPAIN) A+

โอ๊ยชอบสายตาของหนังมาก การมองเห็น มองไม่เห็น ถูกมองเห็นไม่ถูกมองเห็น การส่องไฟในฉากไคลแมกซ์ของนางเอกเป็นฉากที่เรียกได้ว่า คนที่ไม่เคยถูกมองเห็น ถูกทำให้เห็น หลังจากไอ้นี่เล่นกับความไม่เห็นมาตลอดเรื่อง การเห็น การไม่เห็น เป็นลูกเล่นที่มันส์มากในหนัง (จริงๆควรเขียนวิเคราะห์ชุดหนังที่ว่าด้วยอาการตาบอด เพราะมันคือการใช้วิช่วลของภาพยนตร์สวมทับวิช่วลของการ
มองไม่เห็น )

ไอ้การที่นางเอกทำงานดาราศาสตร์ก็เป้นการมองเห้นในสิ่งที่ไม่มีอยู่แล้ว เห็นในสิ่งที่คนอื่นไม่เห็น

เสียดายตอนจบหวานเจี๊ยบไปหน่อย เหมือน Orphanage

หนังทริลเลอร์สเปนนี่สนุกสุดๆจริงๆลูกล่อลูกชนจัดเต็ม แต่นั่นแหละหนักหวานไปหน่อย

วาเลนไทน์สวีทตี้ (ฤกษ์ชัย พวงเพชร /2012/ไทย)
A+

LADY SNOWBLOOD (TOSHIYA FUJITA/1973/JP)
A++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++

ชอบน้อยกว่า SASORI ในความหมายที่ว่าฟินน้อยกว่าSASORI นิดหน่อย

LADY SNOWBLOOD 2 : LOVE SONG OF REVENGE ( TOSHIYA FUJITA /1974/JP) A+

กูว่าแล้วว่าภาคแรกมันทะแม่งๆนัยประเด็นการเมือง ภาคนี้ซัดแบบเต็มดอกจน นางเอกไม่ได้ฟันดาบเลย

หนังคล้ายๆซาโซริภาค4คือ ไปจัยประเด็นเป็นกึ่งหนังอาร์ต เน้นเรื่องการเมืองของพวอนาธิปไตยสมัยเมจิ เดาว่าออกมาตอยรับกระแสความเคลื่อนไหวของนักศึกษาญี่ปุ่นยุค70ด้วย หนังสนุกพอท้วมๆ เพราะเสน่ห์ของท่านแม่ไมโกะ แต่นางได้แสดงอิทธฤทธิ์น้อยกว่าภาคแรกมากๆ
ไมโกะ คาจิ คือเจ้าแม่จริงๆ

BLITZ ( ELLIOT LESTER/2011/UK) A-

มีปัญหากับประเด็นทางจริยธรรมศาลเตี้ยในมือตำรวจของหนังมากพอแรง หนังโปรรัฐ ให้ความเห็นใจตำรวจ นักข่าวเป็นพวกหากินกับคนอื่น ฆาตกรใช้นักข่าวเป็นทางผ่านไปสู่ควมดัง ตำรวจน่าสงสารต้องต่อสู้อย่างหนักอะไรแบบนั้น

จริงๆการพูดถึงตำรวจเกย์ หรือตำรวจติดยาอะไรมันดูมีประเด็นดราม่าน่าสนใจมากๆแต่หนังมันดันครึ่งๆกลางๆ จะเอาบู๊ด้วย ดราม่าด้วย ปัญหาคือทางจบของหนังมันกลายเป็นการตอบสนองผู้ชมให้เชื่อในตำรวจแต่ไม่เชื่อในกฏหมาย น่าสนใจมากว่าการขบถของไอริช มากลายเป็นการขชบถในอำนาจโดยตำรวจได้ยังไง

PRIVATE (SEVARIO COSTANZO/2004/ITL)

A+++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++

ถ้าจะหาหนังสักเรื่องให้นักสันติวิธีดูก็ควรจะเป็นเรื่องนี้แหละ เพราะนี้คือหนังที่แสดงให้เห้นค่าใช้จ่ายของสันติวิธี

ว่ากันว่าเบสออนเรื่องจริง ว่าด้วยครอบครัวของอาจารย์นักเขียนชาวปาเลสไตน์ที่มีบ้านอยู่ตรงพรมแดนของอิสราเอลกับปาเลสสไตน์ วันหนึ่งทหารอิสราเอลมาบุกยึดบ้าน แล้วเขาไม่ยอมออกจากบ้าน ทหารเลยบังคับว่า จะอยุ่ก็ได้ แต่ให้อยู่ได้แค่ชั้นล่าง ห้ามขึ้นชั้นสอง และใช้ชีวิตตามปกติได้จนถึงอาทิตย์ตกดิน หลังจากนั้นต้องไปนอนรวมกันในห้องนั่งเล่น ล๊อคประตูจนเช้า ครอบครัวทั้งเจ็ดคน (เขากับเมีย ลูกสาวคนโต ลูกชายคนกลางสองคน และลูกชายกับลูกสาวคนเล็กอีกสอง) ต้องอาศัอยูอยู่อย่างนั้น เขาคิดว่าการต่อสู้ที่ดีที่สุดคือการอยู่ในบ้าน จะลำบากแค่ไหนก็ต้องอยุ่ในบ้าน เพราะนี่คือบ้านของเขา แต่คนอื่นๆในครอบครัวไม่ได้เป็นแบบเขา

หนังถ่ายแบบดิบๆ กล้องคุรภาพต่ำภาพแตกเกรนละเอียด ตามติดชิดใกล้แบบหนังดาร์แดนน์ บีบอัดคนดูในความกดดัน เมียอยากไปเพราะห่วงลูก คืนนึงลูกสาวคนเล็กติดอยู่นอกห้องทั้งคืนที่มีแต่เสียงปืน หลังจากนั้นก็กลายเป็นเด็กซึม ไม่พูดเหม่อลอยไม่ยอมนอนไปเลย ลูกชายคนกลางสองคน คนนึงอยากหนีใจจะขาด อีกคนฝันเห็นตัวเองเป็นนักรบปลดปล่อยปาเลสไตน์ ลูกสาวปแอบในตู้เพื่อสอดแนมทหารคุยกันจนเกือบถูกจับได้ พ่อก็เกือบโดนฆ่าเพราะดันขึ้นไปชั้นสอง ทุกอย่างบีบคั้นและกัดกินสมาชิกแต่ละคนที่ไม่เหมือนกัน กลางการต่อสู้แบบสันติวิธี ที่ไม่มีวันจบสิ้น

หนังเป็นทั้งภาพสะท้อนconflict อสราเอล ปาเลสไตนืที่คมคายสุดๆ แต่ก็ทะลวงลงไปในปัญหาของสันติวิธีที่ตอบโต้โดยไม่ใช้ความรุนแรงและค่าใชจ่ายของมันต่อมนุษยืแต่ละคนที่ไม่เหมือนกันเลยสักน้อย

หนังกดดัน เข้มข้น เจ้บปวด และร้าวรานใจไปถึงฉากจบ สันติวิธีมีอยู่ เป็นทางเลือกไม่กี่ทางที่เหลือ แต่มันจะนำพาไปสู่ความสำเร็จแบบไหนในโลกที่การนั่งเจรจามีคุณค่าแค่ในฝันและการกดขี่ไม่มีจบสิ้น

หนังเลือกจบในฉากที่เปรี้ยงมากๆ

เป็นหนังdilemma ที่เราขอแนะนำ ต่อจาก WHEN WE LEAVE (ที่จะฉายในงานหนังเยอรมัน) ฉายเรื่องนี้คู่กันสบายมากๆ

THE DESERT OF THE TARTARS (VALERIO ZULINI/1976/ITL)
A+++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++

30 กำลังแจ๋ว (สมจริง ศรีสุภาพ /2011/ไทย) A-

สิ่งที่ดที่สุดในหนังคือแกงค์เพื่อนสาวของอั้ม เอาเข้าจริงถ้าดูมันดยแยกจาก30+ เราก็จะพบว่ามันน่าเบื่อพอๆกันนั่นแหละ

อั้มประคองตัวเองไปเรือยๆด้วยเสน่ห์มหาศาลของนาง แต่บทของเคนภูภูมิมันง้องแง้งน่าถีบมากๆ (แม้ปีเตอร์จะน่าถีบกว่า)

น่าสนใจว่าอาการฮิสทีเรียอยากแต่งงานของอั้มในเรื่องนี้ ของนางเหมยลี่ในรถไฟฟ้า มันช่างคอนเซอร์เสียนีกระไร

ชอบATM มากกว่านะ นี่พูดจริง

THE UNINVITED GUEST ( GUILLEM MORALES /2004/SP)
A+++++++++++++++++++++++++++++++++

ลืมความหวานของJULIA’S EYES ไปได้เลย แม้ปนังจะคาดเดาตอนจบได้ไม่ยาก (แน่นอนว่าไม่จบหวานจ๋อยเหมือนJULIA ) และช่วงต้นของหนังค่อนข้างน่าเบื่อ แต่ช่วงกลางของหนังเมื่อตัวละครสลับตำแหน่งแห่งที่กัน ทุกอย่างมันไปสุดทางเอามากๆ ทั้งเวียร์ด ทั้งซึ้ง ทั้งสยองขวัญตื่นเต้น ช่วงกลางของเรื่องนี้สุดขีดจริงๆ

ลืมเล่า หนังมันว่าด้วยพระเอกเป็นพวกชอบอยู่บ้านใหญ่ๆห้องเยอะๆ เมียเลยทิ้ง วันนึง มีคนมาขอใช้โทรศัพท์ในบ้าน แล้วก็หายตัวไปเลย โทรศัพท์สาธารณะหน้าบ้านที่บอกว่าเสียก็ใช้ได้เป็นปกติ หาเท่าไหร่ก็ไม่พบ จากนั้นก็ได้ยินเสียงกึงกังตลอด ตามตำรวจมาตำรวจก็หาไม่พบเพราะบ้านมันใหญ่และซับซ้อนมาก แต่พระเอกคิดว่ามันต้องมีคนแอบอยู่ในบ้าน !(อย่างไรก็ตาม นี่มันแค่ครึ่งแรกของหนังเท่านั้น!)

DON’T BE AFRAID OF THE DARK ( TROY NIXEY/2010/US) A/A-

การสู้ผีของพวกกระฎุมพีนี่มันช่างง่อยเปลี้ยเสียขาสิ้นดีอะไรเช่นนนี้

หนังรีเมคจากหนังทีวีปี 73ว่ากันว่าหนังทีวีพีคมาก (จริงๆต้นฉบับเป็นการ์ตูนอีกที) ฉบับนี้ทำเหมือนจะทริบิวท์หนังสยองขวัญเมนสตรีมยุค90ที่ต้องเป๊ะตามโครงสร้าง แล้วเล่าช้าๆเนี้ยบๆค่อยๆเขย่าขวัญ ปัญหาคือมันทริบิวทืเหมือนไปหน่อยจนง่วงไปเลย

แต่มันก็เพลินในแง่งานภาพที่สวยยังกะคาราวัจโจ้มาเอง

ตัวเรื่องมันน่าสนใจมากว่าพวกกระฎุมพี่สู้ผีไม่เก่งเอาเสียเลย และตอนจบก็ตอกย้ำเรื่องนี้ว่า เขาจำนนตและวิ่งหนีมากกว่าจะสู้ให้ตายไปข้าง เลยนึกรัก INSIDIOUS มากขึ้นไปอีก

MY BUGLAR AND I ( KAWEH MODIRI/2010/NETHERLANDS)
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++

ไอ้หนุ่มนักเขียนโดนขโมยแลปทอปจากห้อง ต้นฉบับนิยายก็ค้างอยู่ ต่อมาเพื่อนบ้านจับไอ้โจรได้เพราะมันมาขโมยซ้ำ เลยตามไปเอาแลปทอปเขาคืนมาให้ ในแลปทอปไม่มีนิยายเขาแล้ว แต่มีฟุตเตจวีดีโอไอ้โจรโอมาร์ แรปเปอรืวัย19 ถ่ายตัวเองสี่ชั่วโมง เขาพยายามตามหาเพราะอยากเจอไอ้โอมาณืแต่ไอ้นี่ไม่เล่นด้วย เขาเลยเซตว่าให้มาเขียนนิยายโต้กับนักเขียนอีกคน(ซึ่งคือเขาเอง) แต่ไอ้นี่ก็ไม่เขียนอีก เขาเลยนัดผู้หญิงให้ไปขอนัดบอด แล้วพาเพื่อนขโยงนึงไปแอบถ่าย เขาบอกว่าเขาจะไม่จบแค่นี้เพราะเขาผูกพันกับไอ้โอมาร์ ชั้นไม่ได้เลือกนายนะ นายเข้ามาในชีวิตชั้นเอง!!!

หนังมาแบบKEREN CYTTER กล้า เท่ คูล และเต็มไปด้วยเารเล่นกับการเล่า สนุกระทึกมากๆ

2.VARFIX (KOTARO TANAKA/2010/JP)A/A-

อนิเมะชวนเวียนหัว

3.THE VOYAGER (PENNY LANE/2010/US)A+

ภาพคือสารคดียานวอยเยเจอร์สวยๆงามๆ เรื่องคือการพึุดยานอวกาศ เรื่องรักของคาร์ล เซแกน และของคนเล่าเอง หนังสวยมากเพลงbook of love ก็เพราะมากแต่หวานไปหน่อย

BOBBY (RAJ KAPOOR/1973/INDIA)
A+++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++

ฟินจนไม่รู้จะฟินยังไง

เข้าใจ(เอาเอง)ว่า ในสมัยนั้นมันคงเป็นหนังที่แนวมาก อินดี้มาก วัยรุ่นมาก ในแง่ที่ว่าถ้าOM SHANTI OM เป็นการTribute หนังอินเดียเมนสตรีม BOBBY ก็เป็นหนังที่ฉีกสไตลืเมนสตรีมออกไปเลย นางเอกในหนังนางสกอยท์มินิเสกิร์ตที่สลัดส่าหรีทิ้งไปเลย เรื่องง่ายๆว่าพระเอกเป็นลูกคนรวยไร้สุข นางเอกเป็นหลานของอดีตแม่นม มารักกันแล้วติดอุปสรรคข้ามชนชั้นจนต้องหนีตามกันอุตลุด ครบรสหนังอินเดียยาวเกือบสามชั่วโมง

ทุกอย่างในหนังในตอนนั้น(หรือในตอนนี้ก้เหอะ) มันดูสมัยใหม่มากๆ (เดาเอาเองว่ามันคงร่วมนิยามกับหนังแบบ โทน) มันทเอาใจวัยรุ่นแหลกราญ ทั้งพาฝันกันสุดขีด แล้วก็ยังซบอกขนบหนังรักอินเดียข้ามชนชั้นด้วย แถมตอนจบแบบสุขขารมย์ของหนังยิ่งช่วยให้พาฝันมากชึ้นไปอีก เหมือนสามชั่วโมงตีตั๋วไปspectacular ลืมตาย ซึ่งมันไปได้ขนาดนั้นจริงๆ เพลงฉาก ดาราเสื้อผ้าหน้าผม ทุกอย่างแทบจะพุ่งออกมาทิ่มหน้าคนดู ประกายวิบวับกันทั้งเรื่องเลย

จริงช่วงแรกมันจะเนือยๆหน่อยดูแล้วจะหลับ แต่พอมันผ่านช่วงจีบกันมันก้ไปไกลเปนหนังเข้มข้นชนชั้น ดราม่าอินเดียแบบของจริง แล้วมันก็สนุกขึ้นปรี๊ดปรอทแตกมากๆเล

RABIES (AHARON KESHALES + NAVOT PAPUSHADO/2010/ ISAREL)
A++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++

โอเคไปนอนรอทอปลิสต์หนังสยองขวัญประจำปีเรียบร้อยไปอีกหนึ่ง สนุกมาก มันส์มาก โหดมาก ฉลาดมาก ร้ายกาจมาก นี่อาจจะเป็นหนังวัยรุ่นเลี้ยวผิดที่ฉลาดที่สุดเรื่องหนึ่งเลยทีเดียว

พลอตก้ในทำนองว่า วัยรุ่นสี่คนไปเที่ยวแล้วเลี้ยวผืด อยู่ดีๆก้มีผู้ชายวิ่งตัดหน้ารถ เขาบอกว่าน้องสาวเขาติดกัยดักโดนขังอยู่ในป่า ขอแรงหนุ่มๆไปช่วยน้องสาวเขาหน่อย ความชิบหายเริ่มต้นขึ้นตรงนี้

เล่ามากไม่ได้เดี๋ยวเสียความมันสืเอาเป็นว่า มีตำรวจระยำตำรวจดี มีอีสาวเชียร์ลีดเดอรืสองนางสุดสะบึม มีฆาตกรโรคจิต มีคู่รักไปเที่ยวป่าพาหมาไปด้วย และมีความชิบหายเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากจนอธิบายไม่ได้

นึกถึงที่เพื่อนคนหนึ่งเคยบอกว่า เฟรเดอริค เจมสัน พูดว่าในหนังทุกเรื่องของประเทสโลกที่สามมันจะเป้นallegory ของประเทศได้เท่านั้นเอง ซึ่งการอ่านหนังเรื่องนี้ของเราก็ดันเป็นไปในทำนองนั้นด้วย เพราะนี่คือหนังที่บอกให้เห็นถึงความโกลาหล ความเข้าใจผิิด ความไว้ใจไม่ได้ ความกลัว ความกร่าง ในประเทศที่เป็นเหมืองเร้างซึ่งเต็มไปด้วยกับระเบิด วิธีการที่หนังใช้ในการผูกเงื่ิอนปมชวนให้คิดถึงความชิบหายภายในของประเทศ และตอนจบที่แสบสันตืที่สุดครั้งหนึ่งในหนังสยองขวัญก็ตอกย้ำประเด็นนี้ได้ยังเมามันส์

ลาก่อนฮอลลีวู้ด อิสราเอลมาแว้ววว

ปล. เห็นว่าเป็นหนังสยองขวัญวัยรุ่นเลี้ยวผิดเรื่องแรกของอิสราเอลเลยนะ
HOLY ROBE OF SHAOLIN TEMPLE (TSUI SUI MING/1985/HK)
A++++++++++++++++++++++++++++++

สนุกสัดๆๆๆๆ สนุกโคตรพ่อ!ดูกับแม่ เชียร์กันยิ่งกว่าเชียร์มวย

จริงหนังเป็นภาคสองของSHAOLIN VS WU TANG ที่มีหลิวเจียฮุย กับ เจิ้งเส้าชิว แต่คิดว่าเนื้อหาคงไม่ได้ต่อกัน ที่จริงชื่อไทยมันฮามาก เพราะมันเป็นหนังเส้าหลิน แต่เสือกตั้งชื่อบู๊ตึ๊ง (บู๊ตึ๊งในหนังออกสักสิบห้าเปอร์เซนต์ ) ทำให้กูยุ่งยากมากว่าจะหาเจอว่ามันคือหนังเรื่องอะไร

ภาคนี้คือเรื่องของขุนนางชั่วส่งองครักษ์เสื้อแพรโกนหัวมายึดเส้าหลิน บีบให้เจ้าอาวาสฆ๋าตัวตาย (ฉากเจ้าาวาสยอมเผาตัวตายนี่นึกว่า จำลองฉากของพระติช กวางดึกห์ที่เว้) พระเอกเป็นศิษย์เอก หอบจีวรศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าอาวาสหนีตาย ไม่มีจีวรก็เป็นเจ้าอาวาสไม่ได้เลยต้องออกตามบ่ากัน มีสาวชาวมองโกลมาช่วยเหลือไปหลบที่บู๊ตึ๊งแล้วกลับมาสู้คืน

ดูหนังเส้าหลินเยอะมากตอนเด็กๆแต่ไม่เคยอ่านเส้าหลินแบบนี้มาก่อน พออ่านเส้าหลินเป็นอหล่งซ่องสุมทางการเมืองที่รัฐต้องการควบคุม เพราะมันสอนกังฟุด้วยในสายตาขุนนางเส้าหลินคือซ่องโจรก่อการร้ายที่ใช้ศาสนาบังหน้า แล้วต้องควบคุมหรือกำจัด เส้าหลินในหนังก็ไม่ได้มาโม้เรื่องบรรลุดอรหันต์เหมือนเส้าหลินฉบับล่าสุด(พี่หลิว) แต่ก็บอกเลบว่าเป็นที่รวมตัวของเด็กกำพร้าหนีสงครามเด็ที่พลัดกับพ่อแม่ จับมาบวชมาฝึกกังฟู มาเป็นพระ เส้าหลินจึงมีสถานะเป็นองค์กรทางการเมืองภาคประชาชนที่งัดข้อกับราชสำนัก(น่าสนใจว่าหนังแสดงในทำนองฮ่องเต้ไม่เกี่ยวกับการเมืองทรงอยุ่เหนือการเมือง ศักดินาขุนนางนักการเมืองแม่งจัญไรเอง) การต่อสู้ของเส้าหลินเลยแนบสนอทกับความพาฝันของขบวนการภาคประชาชนมากๆ

ทีนี้เรื่องนี้มันน่าสนใจที่มันมีคนชายขอบอย่างคนมองโกลเลี้ยงม้ามาร่วมกู้ชาติจากขุนนางชั่วด้วย ฉากหลวงจีน สวาวมองโกล ฝึกยุทธ์กันที่ภูเขาบู๊ตึ๊งเลยออกมาอิหลักอิเหลื่อประหลาดและคูลมากๆ ยิ่งตอนจบว่าพระเอกบวชเป็นพระไม่ได้กับนางเอกไอ้อุดมการณ์เหนือความรักเลยยิ่งถูกเทิดลอยขึ้นไปอีก

หนังปี 85 จางเชอะปฏิวัติหนังงิ้วไปตั้งนานแล้ว แต่หนังเรื่องนี้กลับมีลีลาแบบงิ้วโหมโรงรอจังหวะแล้วค่อยสู้กัน ซึ่งมันประหลาดดีและคูลมากๆ จังหวะมันสนุกมากๆ หนังสนุกมากๆ รูปปกคือแผ่นไทยจงไปหามาเสพกับบุพการีโดยพลัน

THE ARTIST ( MICHEAL HAZANAVICIUS /2011/FR )
A+++++++++++++++++++++++++++++

i like lots of things in this films , but i prefered to watched LIMELIGHT once again than this kind of compromise nostalghic piece.

จริงๆการบูชาเชิงช่างมันดีมากเลย(เทคนิคทุกอย่างถูกงัดมาหมด) แล้วไอ้ความประนีประนอมนี่ก็น่าสนใจ แต่มันช่างหนุ่มเหลือเกิน

ชอบหนังในเชิงช่าง แต่ประเด็นมันประนีประนอมไปหน่อยซึ่ง จริงๆประนีประนอมก็ถูกแล้ว แต่ความประนีประนอมแบบ (ทำAไม่ได้ แต่ทำB ก้ไม่เอา เราไปประสปความสำเร็จกับC เถอะ) ดูเป็นสูตรสำเร็จแบบอเมริกันไปหน่อยสำหรับเรา มันเลยเป็นหนังเชิงช่างที่ดีเรื่องหนึ่ง (เราดูควบLA HARVE ทำให้ LA HARVE ที่ฟินสัสๆ ฟินขึ้นไปอีก)เรา ชอบเชิงช่างมันมากๆเลย mise en scene หรือเทคนิคต่างๆ การวางหมากในไดอะลอก อะไรแบบนี้สวงามมาก ฉากที่ชอบมากๆคือฉากที่พระเอกไม่มีเงา การแสดงจอหนังเป็นกระจก เป็นเงา เป็นภาพสะท้อน แล้วไปปะทะกับรูปเหมือนในอีกซีน มันทรงพลังมากเลย เอาไปเขียนวิคราะห์กันได้เพลิดเพลิน แต่มันไม่กินใจแบบillusionist หรือ limelight ดังที่ได้กล่าวไป
ซีน เสียงเราชอบซีนการได้ยินครั้งแรกของพระเอกมากกว่านะ ในแง่ว่าเสียงคือภัยคุกคาม เสียงแก้วตกเสียงนางระบำหัวเราะคิกคัก หรือเสียงรถวิ่ง อะไรแบบนั้น การไม่ได้ยินในช่วงท้า(ไม่ขึ้นไดอะลอก)ก้คือการล้อภัยเงียบของความภาคภูมิใน ความเป็นดาราหนังเงียบ ส่วนเสียงในฉากจบก็คือการtransform จากหนังเงียบเป็นหนังเสียงในตัวเอกนั่นแหละ ซึ่งมันก็เป็นเช่นนั้นน่ะถูกแล้ว (มึงจะมาอัลยอาวรณ์อะไรกับยุคสมัยของตัวเอง) แต่ท่าทีแบบกูเอาดีทางอื่น (แล้วโอ๊ยประสบความสำเร้จ) มันค่อนข้าง สูตรสำเร็จไปหน่อย มันไม่ได้พุดถึงความสำเร็จของหนังนี่ มันพูดถึงความสำเร็จในการด้าวข้ามการไม่ได้รับการยอมรับในฐานะดาราของพระเอก หนัง มันจบตรงที่ว่านายA เอาชนะตัวเองได้แล้ว ไม่ใช่แค่ตัวเองด้วย แต่หมายถึงชนะ producer mี่บอกว่าตัวเองจบแล้ว ทีมงานหลังกล้อง ประเด็นมันก็คือการเคลียร์ตัวเองของตัวเอก มันจบตรงนั้นเพราะมันไม่ใช่การพูดถึงความสำเร็จอของตัวหนัง แต่มันพูดถึงความสำเร็จ (ความใคร่)ทางใจของตัวละครเรียบร้อยโรงเรียนฮอลลีวู้ดแล้ว (ถ้ามันจะเล่นประเด็นควาไม่แน่นอนอะไรแบบนั้นมันจะลากยาวต่อไปแน่ๆ)

มันไม่ได้เลือกโฟกัสที่การเปลี่ยนผ่าน มันเลือกโฟกัสที่การประสบความสำเร็จ อย่างที่บอกว่าเราโอเคกับฉากจบ แต่การใส่ว่า เปลี่ยนสิสำเร็จแน่ มันสูตรสำเร้จไปหน่อย ไม่ได้แปลว่ามัน แย่ หรือต้องยึดติดไม่ยึดติดอะไรน่ะ หนังไม่ได้บอกว่าหนังเงียบงดงาม หนังเสียงเลวร้าย มันแค่บุ๙าครุและโอเคกับมัน มันไม่ใช่การหวนหาหนังเงียบของคนทำหนังเงียบแบบLIMELIGHT กรณีLIMELIGHT มันก็เป็นหนังยึดติดนั่นแหละ แต่มันไม่ได้ทำหน้าที่สั่งสอนอะไรว่าการยึดติดไม่ดี มันทำหน้าที่เป็นหนังส่วนตัว คนละฟังก์ชั่นกัน มันแค่มาซ้อนกันในแง่การนอสตาลเจียหนังเงียบเท่านั้นเอง

ปล. การดูหนังเรื่องนี้คู่กับLA HAVRE ทำให้ความเก่าเก๋าของLA HAVRE ทวีความฟินไปอีกบวกสองบรรทัด

Thai experimenta history one: มวลแสง

จุฬญาณนนท์, จุฬญาณนนท์ ศิริผล, 2551, 5:00 // Chulayarnnon, Chulayarnnon Siriphol, 2008, 5:00
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++
หนังสด, โดม สุขวงศ์, 2528, 2:09 // Nang Sod, Dome Sukawong, 1985, 2:09
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++
Boring Blinker, สุรพงษ์ พินิจค้า, 2528,2:40 // Boring Blinker, Surabongse Binichkhah, 1985, 2:40
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
กาลครั้งหนึ่ง, ภาณุ อารี, 2543, 14:00 // Once Upon a Time, Panu Aree, 2000, 14:00
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
Cutter, Trimmer and Chainsaw, ปฐมพล เทศประทีป, 2554, 2:53 //
A+

หมาแดงบ่ไซ , ไพสิฐ พันธุ์พฤษชาติ, 2542, 24:00 // Madang Bo sai, Pasit Punpruksachat, 1999, 24:00

A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
From the archives: Men at home

Life Continued (Zhuang Ling, 1966, Taiwan, 14min, B&W)
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

My Newborn Baby (Zhuang Ling, 1967, Taiwan, 10min, B&W)
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

6th Birthday and Merry Christmas to you 1962 (Charles Ong Cheng Yam, 1962, 14min, colour)
A++++

Vincent’s 8th Birthday (Charles Ong Cheng Yam, 1965, 4mins, colour)
A++++

Birthdays 1965 and 1967 (Charles Ong Cheng Yam, 1965. 1967, 15mins, colour)
A++++
Blur Luminous, ทวีวิทย์ กิจธนสุนทร, 2554, 13:45 // Blur Luminous, Taweewit Kijtanasoonthorn (TH), 2011, 13:45 A+

Phi, Jessica Mautner (UK), 2011, 14:35 A+

Re-banho, Tales Frey (PT), 2011, 11:24 A+

724 14th St, Ching Yi Tseng (TW), 2010, 10:00
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

องค์ประกอบของเวลา: ในโลกไทยทัศนา, ศุภร ชูทรงเดช, 2554, 2:27 // The Big Picture, Suporn Shoosongdej (TH), 2011, 2:27
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Coms Device, Nadav Assor (IL), 2011, 07:55
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Pulsation, Pieter Geenen (BE), 2011, 14:30
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
Make It New John, Duncan Campbell (UK), 2009, 55:00
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Sack Barrow, Ben Rivers (UK), 2011, 21:00
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Open call: Was here, was now

Untitled#1, from the series ‘Eight Men Lived in the Room,’ Hyewon Kwon (ROK), 2010, 5:56

A++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++

The Impossibility of Knowing, Tan Pin Pin (SG), 2011, 11:30
A++

Sutadi, Sudah Tak di Sini (Sutadi Ain’t Here Anymore), Marthen
Luther Sesa (ID), 2010, 17:54
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++

OZ@1950, Dirk De Brwyn (NL), 2010, 4:11
A++++++++++++++++++++++++++++++++++ ++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Lay Claim to an Island, Chris Kennedy (CA), 2009, 13:00
A++

BEFF6 presents: Archival film and collective memory

Two Coronations, Stephen Connolly (UK), 2011, 14:00
A++++++++++++++++++++++++++++++++
Bernadette, Duncan Campbell (UK), 2008, 37:10
A++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++

A STUDY OF RELATIONSHIPS BETWEEN INNER AND OUTER SPACE (DAVID LAMELAS/1969/UK)
A+++++++++++++++++++++++++++++++++
การไปดูหนังทดลองเป็นเรื่องระดับจักรวาล

A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
for the whole program

เดินแบบ, อมรินทร์ ผจญยุทธ, 4: 11 // Duenbab (Modelling), Amarin Pajonyuth, 4: 11

การเดินแบบเก๋ๆ ของคนเก๋ๆ ยุคก่อนเก๋ๆ

เด็กๆ, อมรินทร์ ผจญยุทธ, 4: 11 // Dek Dek (Kids), Amarin Pajonyuth, 4: 11
เมียแหม่ม่ และลูกน่ารัก

Film from Lampang, Anonymous, 14: 30
ฝรั่งฟ้อนเล็บร่วมกับนางรำ งานกินเลี้ยง

ไม่มีชื่อ, วิชัย เอื้อชูเกียรติ, 15: 00 // (Untitled), Wichanon Somumjarni Euarchukiate, 15: 00
จำไม่ได้่

พิธีเปิดป้ายสหพานิช, วิชัย เอื้อชูเกียรติ, 3: 00 // Phithi perd pai Sahapanich (Opening Ceremony of Sahapanich), Wichai Euarchukiate, 3: 00

พิธีเปิดร้านค้า ฆษณาฮิตาชิ (เก๋มาก)

ไม่มีชื่อ 1, นิจ หิญชีระนันทน์, 5: 40 // Untitled#1, Nij Hinchiranan, 5: 40

ภาพถ่ายหน้ารถ

ไม่มีชื่อ 2, นิจ หิญชีระนันทน์, 5: 40 // Untitled#2, Nij Hinchiranan, 3:05
S
ภาพถ่ายเที่ยวลาสเวกัส

BEFF6 presents: Poetics of Longing

Tanatchai Bandasak, ‘Lalita’, 2009, 5min รอบ2
Nitipong Thinthupthai, ‘chai wan ni (Now Showing)’, 2009, 21minรอบ2
Wichanon Somumjarn, ‘Four Boys, White Whiskey and Grilled Mouse’, 2009, 10minรอบ3
Apichatpong Weerasethakul, ’0016643225059′, 1994, 5minรอบ2
Jay Santiphap Inkong-ngam, ‘Letter to Sri Moh’, 2011 8 min
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
Tanatchai Bandasak, ‘Air Cowboy’, 2010, 3min รอบ3
Patty Chang and David Kelley – Route 3, 2011, 27 min
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++ +++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++ +++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
World Without End (Paul Rotha and Basil Wright, 1953)
A+++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++

Open Call: Once upon a time

Ars Colonia, Raya Martin (PH), 2011, 1:13
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Vladimir Kempsky’s Film, Ichiro Sueoka (JP), 2010, 8:00
A+

สะพาน, กนกพร มาลีศรีประเสริฐ, 2554, 3:15 // The Greedy Whisper,
Kanokporn Maleesriprasert (TH), 2011, 3:15
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Memory Objects, Memory Dialogues, Alyssa Grossman and Selena Kimball, 2011, 26:10
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Fade In: EXT. Storage – Cu Chi – Day, The Propeller Group (VN), 2010, 5:00
A++

Haikus for Karaoke, Roberto Santaguida (CA), 2011, 4:00
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Sukiharti Halim, Ariani Darmawan (ID), 2008, 10:00
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
BEFF6 presents: Experimenta India

And I Make Short Films, S.N.S Sastry (IN) 1968, B&W sound 16 mins
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Abid, Pramod Pati (IN) 1972, colour sound 5 mins
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Claxplosion, Pramod Pati (IN) 1968, B&W sound 2mins
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Trip, Pramod Pati (IN) 1970, B&W sound 4 mins
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Explorer, Pramod Pati (IN) 1968, B&W sound 7 mins
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Child on Chess Board Vijay B Chandra (IN) 1979, B&W sound 7:46 mins
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

From the archives: Hong Kong Bohemia

Quan xian / Routine (Dir. Law Kar, 1970, 10min)
A++

Xi zuo zhi yi/Home Work (Dir. Ho Fan, 1966, 40min)
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
WONG KAR WAI in the precision of time – Antonioni in HK

Riot in Hong Kong 1974 /Dong dang de xiang gang yi jiu qi si) (Dir. Hou Man Wan, 1974, 19min)
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
some scenes reminding me of LADONI (Artur Aristakisyan)

Beggar (Dir. Law Kar, 1971, 10min)
A+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Shin Wei / Demonstrate (Dir. Lau Fung Kut, 197?, 12min)
A+++

Something About Five People (Dir. Lau Fung Kut, 1973, 9.30min)
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

as beautiful as HOU HSIAO HSIEN’s BOYS FROM FENGKEUI
BEFF6 presents: KLEX@BEFF6

When the Time Without My Memories, Alison Khor (MY) 2010, 4:55
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Kolam, Chris CHONG Chan Fui (MY) 2007, 12:40 minsรอบ 2

The Butterfly (MY), CHAN Seahuvi, 2004, 0:35 secs
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

PERHAPS (MY), KOK Kai Foong, 2006, 8:50 mins
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

PASSING II, AU Sow Yee (MY), 2009, 6:30 mins
A+/A

Di Bawah Bintang Mengerdip (Under the Twinkling Star), Kamal Sabran
(MY), 2010, Malaysia, 3:30
A+

Sky Don’t Fall, Akiko Nakamura (JP), 2011, 3:11
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

iso, Katsuyuki Hattori (JP), 2011, 3:11
A

Making of Tokyo, Yousuke Sano (JP), 2011, 3:11 mins
A

STAR, Choi Sai Ho (HK) (alternative version), 2011, 8:00 mins
A

Morning, KOK Siew Wai (MY), 2010, 3:50 mins
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

ความมืดสีขาว Whiteness In Darkness, Koji Tambata (JP, TH), 2012, 8:00 mins
A-

Flow, Chew Win Chen (MY), 2011, 3:00 mins
A++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Leave a comment